สรุปงานกลุ่มที่ได้ทำมาตั้งแต่ต้นเทอม
ตัวผลิตภัณฑ์เดิมของน้ำตาลมะพร้าวน้ำหอม ไผ่ริมแคว
ข้อเสียของผลิตภัณฑ์นี้คือ
1. ฉลากสินค้ามีความเล็ก และขาดความน่าสนใจที่จะดึงดูดสายตาผู้บริโภค
2. ภาพประกอบไม่ชัดเจน เข้าใจได้ยาก
3. ผลิตภัณฑ์ขาดความสวยงาม ซึ่งเป็นตัวดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค
4. ผลิตภัณฑ์มีความยากต่อการนำไปใช้งาน
ดังนั้น ทางกลุ่มจึงได้มีการปรับ เพิ่ม และดัดแปลงตัวผลิตภัณฑ์ขึ้นมาใหม่ ดังนี้
1. ชื่อสินค้า เปลี่ยนจากไผ่ริมแคว เป็นตาลริมแคว เพื่อให้ยังคงความเป็นรูปแบบเดิมไว้เพียงเล็กน้อย และเชื่อมโยงกับกิจการอื่นๆของ คุณแดง และ เจ๊หนู
2. ออกแบบฉลากสินค้ารูปแบบใหม่ ให้มีความน่าสนใจมากขึ้น
3. เพิ่ม pattle รอบกล่องเดิม เพื่อเพิ่มความน่าสนใจของผลิตภัณฑ์มากขึ้น แต่ออกแบบให้สอดคล้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีการใช้กระดาษ คราฟสีน้ำตาล(กระดาษรีไซเคิล)
4. ออกแบบบรรจุภัณฑ์รูปแบบใหม่ และสร้างตัวผลิตภัณฑ์ขึ้นมาใหม่ ให้ใช้สอยได้ง่ายยิ่งขึ้น
ที่มา : จารุรัตน์ น่าเยี่ยม (2555) , Sketch รูปแบบ Pattle และชื่อสินค้า
ออกแบบโดย : นางสาวจารุรัตน์ น่าเยี่ยม
ที่มา : จารุรัตน์ น่าเยี่ยม (2555) , ออกแบบชื่อสินค้าและตราสัญลักษณ์ในรูปแบบใหม่
ออกแบบโดย นางสาวจารุรัตน์ น่าเยี่ยม
ที่มา : จารุรัตน์ น่าเยี่ยม (2555) , การออกแบบตัวผลิตภัณฑ์และ pattle รอบกล่องโดยโปรแกรม Sketch up
ออกแบบโดย : นางสาวจารุรัตน์ น่าเยี่ยม
ที่มา : จารุรัตน์ น่าเยี่ยม (2555) , รูปแบบ Pattle ของกล่องที่เสร็จสมบูรณ์
ใช้การขัดกันของกระดาษ เผื่อลดค่าใช้จ่ายในเรื่องกาวออกไป
ออกแบบโดย นางสาวจารุรัตน์ น่าเยี่ยม
การพัฒนาต่อยอดจากรูปแบบเดิมเพียงเล็กน้อย
ที่มาของภาพ : จารุรัตน์ น่าเยี่ยม (2555) , ผลิตภัณฑ์ซึ่งยังคงรูปแบบเดิม
เพียงนำมาต่อยอดเพิ่ม Pattle และ Label ใหม่ เพียงเล็กน้อย
ออกแบบโดยนางสาวจารุรัตน์ น่าเยี่ยม
การพัฒนาต่อยอดจากรูปแบบเดิม โดยมีการเปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑ์เพียงเล็กน้อย
ที่มาของภาพ : จารุรัตน์ น่าเยี่ยม (2555) , การเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่
โดยตัวบรรจุภัณฑ์มีหูจับ เพื่อสะดวกต่อการหยิบถือ ออกแบบโดยนางสาววิภาดา โทนสูงเนิน
แต่ปัญหาที่พบคือ ในขณะที่บรรจุน้ำตาลลงไป ตัวบรรจุภัณฑ์เองสามารถรองรับความร้อนได้ในระดับหนึ่ง
ซึ่งน้ำตาลที่ร้อนจัดนั้น ส่งผลให้ ตัวบรรจุภัณฑ์มีการหลอมละลายลงเล็กน้อย
ที่มาของภาพ : จารุรัตน์ น่าเยี่ยม (2555) , การปรับรูปร่างของผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยสะดวกต่อการใช้งาน
และสามารถนำไปใช้ได้จริง
ออกแบบโดย นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน
ที่มาของภาพ : จารุรัตน์ น่าเยี่ยม (2555) , Mini Exhibition
ที่มาของภาพ : ณัชชา แสงพยับ (2555) , หลังจบการ Present
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น